ThaiEMB.com สังคมแห่งมิตรภาพ และการแบ่งปัน
วันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2567, 07:52:09 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เว็บบอร์ด   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
collapse
กฏ-กติกา : ห้ามจำหน่าย, จ่ายแจก ซอฟแวร์ หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของผลงานอันมีลิขสิทธิ์ ในเว็บบอร์ด Thaiemb แห่งนี้โดยเด็ดขาด
ไม่ว่าจะเป็นทางหน้าบอร์ด หรือหลังไมค์(PM) หากพบเห็นท่านจะถูกแบน User ถาวร.!!!
หากท่านถูกในในผลงาน หรืออยากสนับสนุนให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานมีกำลังใจในการสร้างสรรค์ผลงาน
โปรดช่วยบริจาคให้ผู้จัดทำบ้างตามกำลังนะครับ.!!!  062

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: การตัดไหม  (อ่าน 5257 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
angsu
Newbie
*

ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 12
สมาชิก Nº: 9949

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 68
-ได้รับ: 21


โปรแกรม: PEDESIGN10
จักรปัก: brother
« เมื่อ: วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559, 20:54:14 »

อยากรู้ว่าเมื่อทำการปักชื่อนักเรียนเสร็จแล้ว  จำเป็นต้องตัดไหมด้วยหรือไม่
ตามรูปด้านล่าง
ขอบคุณครับคุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
บันทึกการเข้า
 
pong
Extras Member
*****

ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 817
สมาชิก Nº: 1909

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 1503
-ได้รับ: 3947


โปรแกรม: wilcom e1.8
จักรปัก: จักรจีน
« ตอบ #1 เมื่อ: วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559, 21:11:44 »

 Wink Wink Wink มันขึ้นกับว่าท่านต้องการให้ลูกค้ามองว่างานของท่านเนี๊ยบหรือไม่เนี๊ยบ

-งานปักฝีมือธรรมดาจะเป็บบนี้

-ถ้าปักงานฝีมือคุณภาพราคาสูง หรือ ต่ำ จะไม่มีเส้นโยงแบบนี้

80% ของงานปักชื่อนักเรียนมกเป็นแบบนี้เพราะมองกันว่างานนักเรียนกินกันง่าย

กลุ่มงานคุณภาพจริงมีประมาณ 20% ของคนทำงานปัก

-เส้นโยงสวยไม่ขึ้นขึ้นกับ 1. ตัวโปรแกรมที่ใช้ทำแบบปัก  2. ฝีมือคนทำแบบปัก

ภาพ
สรุปความ ความสวยงามเรากำหนด ครับ  ไม่ตัด ไม่ได้ผิด แต่ไม่สวย  เขียนตรงๆแบบผม เส้นโยงที่ไม่สวยเท่าไหร่เพราะตัวโปรแกรมที่ท่านใช้อยู่ครับ  ถ้าฝีมือพัฒนาแล้วเปลี่ยนไปใช้โปรแกรมที่ปักกว่าก็ได้ครับ หาดูในเวปว่าคนส่วนใหญ่เขาใช้โปรแกรมอะไรกัน...?

ภาพปักคร่าวๆของคนใช้จักรเล็กเช่นกัน ปักจากมืออาชีพ โปรแกรมที่เขาใช้คอ wilcom จะสังเกตเห็นว่าเส้นเชื่อมของตัวหนังสือสวยกว่าครับ

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559, 21:28:17 โดย pong » บันทึกการเข้า
Kriangkraiw
Hero Member
*****


ยินดีให้คำปรึกษาเกี่ยวกับงานปักทุกเรื่องครับ
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2510
สมาชิก Nº: 31

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 3620
-ได้รับ: 8911


เว็บไซต์ โปรแกรม: Wilcom E3, PE-Design next
จักรปัก: Brother   RiCOMA   KANZEN
« ตอบ #2 เมื่อ: วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559, 22:11:46 »

ขอตอบพรุ่งนี้ ในมือถือไม่สะดวกพิมพ์ยาวๆ

เกรียงไกร
บันทึกการเข้า



เครื่องปักคอมพิวเตอร์ SWF Brother RiCOMA KANZEN
เครื่องพิมพ์เสื้อ Brother GTX
เครื่องทำบล๊อกสกรีน RISO QOCCOPRO
ไหมปัก Bright

บริการด้วยใจ...ที่เป็นหนึ่ง
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ

angsu
Newbie
*

ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 12
สมาชิก Nº: 9949

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 68
-ได้รับ: 21


โปรแกรม: PEDESIGN10
จักรปัก: brother
« ตอบ #3 เมื่อ: วันที่ 4 พฤษภาคม พ.ศ. 2559, 22:56:40 »

ขอความรู้ทุกท่านเพิ่มเติมให้ด้วยครับ  ไม่มีความรู้ด้านนี้เลย 
ทำงานปักหลังเวลางานประจำ  (อาชีพหลักช่างไฟฟ้า)
  ขอบคุณครับ
 Azn Smiley Azn
บันทึกการเข้า
trex_ln
Sr. Member
****


ชิว...ชิว
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
รางวัล:
x1
กระทู้: 275
สมาชิก Nº: 1

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 152
-ได้รับ: 2750


เว็บไซต์
Re:
« ตอบ #4 เมื่อ: วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2559, 09:41:29 »

ถ้าเป็นเสื้อนักเรียนส่วนใหญ่ผมจะโยงเอานะครับ แล้วมาเล็มเอาข้างนอก เร็วกว่าครับ (ความเห็นส่วนตัว)

Sent from my Blade S6 using Tapatalk
บันทึกการเข้า

เซ็งไอ้พวกไม่รู้จริง สักแต่จะพูดพล่อย ๆ ไปเรื่อย ๆ
Kriangkraiw
Hero Member
*****


ยินดีให้คำปรึกษาเกี่ยวกับงานปักทุกเรื่องครับ
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2510
สมาชิก Nº: 31

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 3620
-ได้รับ: 8911


เว็บไซต์ โปรแกรม: Wilcom E3, PE-Design next
จักรปัก: Brother   RiCOMA   KANZEN
« ตอบ #5 เมื่อ: วันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2559, 09:54:43 »

เครื่องปักโดยทั่วไป มีการทำงานตัดไหมอัตโนมัติมาให้ใช้
เพื่อความสะดวกเวลาเครื่อง เปลี่ยนสีไหม เท่านั้น
ย้ำ เพื่อความสะดวกในเวลาที่ต้องการ เปลี่ยนสีไหม เท่านั้น

ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ขออธิบายตามนี้
1. เวลา เวลาที่เครื่องหยุดตัดไหม จะเสียเวลาอย่างน้อย 5-7วินาทีต่อครั้ง ถ้าในหนึ่งลาย เรามีการตัดไหม 10 ครั้ง ลายนึงจะเสียเวลาไปเปล่าๆ เกินหนึ่งนาที
ถ้าทำงานสิบครั้ง ก็สิบนาที ร้อยครั้งก็ ร้อยนาที เอาเวลาที่เสียไปมาให้เครื่องปักทำงานปักไป งานจะได้มากเพิ่มขึ้น
2. การสึกหรอ เวลาที่เครื่องหยุดตัดไหม มอเตอร์หลักทำงานอยู่ต้องหยุด มอเตอร์ตัดไหมต้องทำงาน ใบมีดต้องทำงาน
3. อุบัติเหตุ เวลาตัดไหมถ้าเกิดการผิดจังหวะของใบมีด ไม่ทำงานสัมพันธ์กับเข็มปัก เข็มอาจจะปักลงไปในใบมีดได้ เสียเวลาหยุดเครื่องซ่อม

จากเหตุผลดังกล่าว การทำงานเราควรเลือกระหว่าง จะนำมาตัดด้ายเอง หรือจะให้เครื่องตัดทุกตัวอักษร
ขึ้นอยู่กับเหตุผล และความต้องการแต่ละบุคคล
ผมเคยพบลูกค้าบางราย ตัดไหมทุกตัว เพราะเค้าทำงานคนเดียว มีเครื่องหลายตัว จึงตัดไหมไม่ทัน

จากในรูปที่แนบมา
ปัญหาเกิดจากการสร้างลายที่ไม่เหมาะสม จุดเชื่อมไม่ได้เป็นระยะที่สั้นที่สุด
ควรไปแก้ให้มีจุดเชื่อมเป็นระยะที่สั้นที่สุด แล้วเหลือจุดโยงระยะยาวให้น้อยที่สุดครับ

เกรียงไกร
บันทึกการเข้า



เครื่องปักคอมพิวเตอร์ SWF Brother RiCOMA KANZEN
เครื่องพิมพ์เสื้อ Brother GTX
เครื่องทำบล๊อกสกรีน RISO QOCCOPRO
ไหมปัก Bright

บริการด้วยใจ...ที่เป็นหนึ่ง
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ

realmadrid_c2
Hero Member
*****

ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1206
สมาชิก Nº: 703

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 1937
-ได้รับ: 1526


« ตอบ #6 เมื่อ: วันที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2559, 00:47:39 »

ถ้างานเนี๊ยบๆ หน่อย ตัวอักษร ห่างกันนิดเดียว บางบริษัท สั่งให้ตัด (ห่างกันไม่กี่มิล) อันนี้ต้องสั่งเครื่องตัด เพราะ ออกมาตัดเองไม่ได้
แต่ถ้าจะตัดเอง ต้องสั่งเชื่อม ให้มันยาวที่สุด --"

ตอนนี้ที่ทำงานผมมี จักร ๒ ตัว 20 กับ 18 หัว
ก็เชื่อมโยง เท่าที่จะทำได้ พูดง่ายๆคือ แทบจะไม่ตัดเลย เสร็จแล้วให้มาตัดเอง

ปัญหาคือ งานมันไปหนักที่คนงาน แอบมีลักไก่กันตลอด เช่นปักงานเสร็จแล้ว ก็ตัดขี้ด้ายก่อน ค่อยเอางานเข้าเครื่อง
ผมต้องคอย แนะนำว่า ให้วิ่งเครื่องช้า ๆ เท่ากับ เรากดสะดึง กับตัดขึ้ด้าย ทัน ให้มันพอดี

ผมให้เหตุผลว่าเครื่องวิ่งช้า ไม่หนวกหู ไหมขาดยาก (อันที่จริงรวมถึงการถนอมเครื่องไปด้วย แต่ผมให้เหตุผลที่มันเป็นบวกต่อพนักงาน)

เข้าเรื่องครับ ผมว่า มันก็เชื่อมโยงกันได้นะ ระยะห่างกันแค่ไม่กี่มิลเอง

ถ้าเป็น วิงส์ ที่ผมใช้เม้าท์รวบกด Ctrl+J ก็เชื่อมสวยแล้วครับ  025 สุขใจ
บันทึกการเข้า

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
Kriangkraiw
Hero Member
*****


ยินดีให้คำปรึกษาเกี่ยวกับงานปักทุกเรื่องครับ
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2510
สมาชิก Nº: 31

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 3620
-ได้รับ: 8911


เว็บไซต์ โปรแกรม: Wilcom E3, PE-Design next
จักรปัก: Brother   RiCOMA   KANZEN
« ตอบ #7 เมื่อ: วันที่ 9 พฤษภาคม พ.ศ. 2559, 08:53:47 »

อยู่ที่คุณภาพงานที่เราอยากให้เป็นครับ

ราคาเป็นตัวกำหนดคุณภาพงาน
ถ้างานราคา 1000 บาท เชื่อมไม่ถึงมิล ผมก็ต้องเอาปลายกรรไกรพยายามตัดให้มากที่สุด
ถ้างานราคา 30 บาท เชื่อมมิลนึง อาจจะไม่ตัด
ส่วนราคางาน 2-3 บาท จะตัดละเอียดเหมือนงานราคาสูงก็คงไม่คุ้มกัน

เกรียงไกร
บันทึกการเข้า



เครื่องปักคอมพิวเตอร์ SWF Brother RiCOMA KANZEN
เครื่องพิมพ์เสื้อ Brother GTX
เครื่องทำบล๊อกสกรีน RISO QOCCOPRO
ไหมปัก Bright

บริการด้วยใจ...ที่เป็นหนึ่ง
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ

manoiy69
Newbie
*

ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 6
สมาชิก Nº: 6604

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 23
-ได้รับ: 0


โปรแกรม: Welcom
จักรปัก: Brother
« ตอบ #8 เมื่อ: วันที่ 31 กรกฎาคม พ.ศ. 2560, 16:59:14 »

 056 056
บันทึกการเข้า
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.16 | SMF © 2011, Simple Machines
SimplePortal 2.3.7 © 2008-2024, SimplePortal

SMFAds for Free Forums

Clear Mind Theme, by StathisG
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.051 วินาที กับ 31 คำสั่ง