ThaiEMB.com สังคมแห่งมิตรภาพ และการแบ่งปัน

ช่างปักผ้า => เทคนิคการปักผ้า => ข้อความที่เริ่มโดย: สุเมธ ที่ วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2557, 14:06:49



หัวข้อ: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: สุเมธ ที่ วันที่ 6 มกราคม พ.ศ. 2557, 14:06:49
 

(http://upic.me/i/5a/6-12-57.jpg) (http://upic.me/show/48971317)


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: tk-sport ที่ วันที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2557, 11:29:09
ขอบคุณครับ ;)


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: realmadrid_c2 ที่ วันที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2557, 00:10:00
ลึกซึ้งแก่นแท้มากครับ


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: fieldpig ที่ วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2557, 09:16:06
แล้วด้ายล่างหย่อนต้องแก้ยังไงครับ


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: kochai ที่ วันที่ 19 มกราคม พ.ศ. 2557, 09:27:31
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
แล้วด้ายล่างหย่อนต้องแก้ยังไงครับ
ให้ดูด้านหลัง หากด้ายล่างเยอะ แสดงว่าด้ายล่างหย่อน ก็ปรับไหมบนให้หย่อน หลักการคือด้ายล่างมากให้ปรับไหมบนไปที่ตัวเลขน้อย  หากปรับแล้วด้ายล่าง ยังขึ้นเยอะอีก ก็จำเป็นต้องถอดเอาตัวกะโหลก มาปรับให้แน่นขึ้นครับ


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: kochai ที่ วันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2558, 15:28:35
ดันกระทู้ครับ กระทู้น่าสนใจสำหรับมือใหม่


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: mod ที่ วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2558, 22:40:01
ด้ายล่างปรับที่ไหนครับ


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: tikscreen ที่ วันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ. 2558, 22:56:32
(http://upic.me/i/b5/osmkkdf.jpg) (http://upic.me/show/57469228)ปรับตรงต่ำแหน่งที่วงกลมไว้ครับ ใช้ไขควงแบนๆบางๆ โดยการปรับไหมให้ตึงให้หมุนไปตามเข็มนาฬิกา และต้องการให้ไหมหย่อน ก็ปรับไปทางทวนเข็มนาฬิกา


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: mod ที่ วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2558, 18:50:48
จักรทุกยี่ห้อและทุกรุ่นเหมือนกันใช่ไหมครับ


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: kochai ที่ วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2558, 18:53:58
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
จักรทุกยี่ห้อและทุกรุ่นเหมือนกันใช่ไหมครับ

น่าจะเหมือนกันครับ


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: tikscreen ที่ วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2558, 23:26:35
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
น่าจะเหมือนกันครับ
เหมือนกันครับ


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: rangsan2514 ที่ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2558, 09:21:03
ขอบคุณครับ..ได้ความรู้เพิ่มอีกแล้ว :067:


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: tikscreen ที่ วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2558, 13:56:25
เพิ่มเติมครับขนาดของด้ายล่าง ชนิดม้วนใหญ่ กรอเอง (ข้อมูล บ. ราพอส)
ด้ายล่าง เบอร์ 50/2 ยาว (16,000 เมตร)ต่อ 1 กิโลกรัม (เส้นจะใหญ่)
ด้ายล่าง เบอร์ 60/2 ยาว (32,000 เมตร)ต่อ 1 กิโลกรัม (เส้นจะเล็กลงมาหน่อย)
ด้ายล่าง เบอร์ 80/2 ยาว (49,000 เมตร)ต่อ 1 กิโลกรัม (เส้นเล็กสุด)
(http://upic.me/i/1v/pic-d-48-3882003534.jpg) (http://upic.me/show/57487448)


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: top...ka ที่ วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2558, 09:07:17
สอบถามเพิ่มเติมคะ แล้วใช้ด้ายล่างเบออะไรคะ ถึงจะดี ปักสวยคะ หรือว่าแล้วแต่งานที่จะปัก :) :) :)


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: kalasinpolo ที่ วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2558, 18:01:21
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
สอบถามเพิ่มเติมคะ แล้วใช้ด้ายล่างเบออะไรคะ ถึงจะดี ปักสวยคะ หรือว่าแล้วแต่งานที่จะปัก :) :) :)

ด้ายล่างเส้นใหญ่ไปงานจะหยาบ ในกรณีปักงาน ทาทามิ ความจุต่อ 1 เม็ดกระสวยจะได้สั้น หมดเร็ว เเละจะเิกิดการปล่อยตัวได้ค่อนข้างติดขัดจากสปริงหนีบกระสวย(ปรับกระสวยให้ไหลลื่นยากขี้น)

ด้ายเล็กเกินไปจะขาดง่ายมากถ้ากระโหลกกระสวยไม่สมบูรณ์ดีพอ ความยาวเมื่อกรอใส่กระสวยจะยาวขึ้น ปักงานจะออกมาละเอียดสวยเนียนเเบน ฝีเข็ม ทาทามิ หรือฝีเข็มที่ทับซ้อยเกยกันหลายๆบล็อค

เลือกใช้เเบบกลางๆครับไม่เล็ก-ใหญ่ไป ไม่มันไม่ลื่นเกินไป  งานจะออกมาสวยครับ


หัวข้อ: Re: ความตึงหย่อนไหมและด้ายล่าง
เริ่มหัวข้อโดย: pong ที่ วันที่ 22 ธันวาคม พ.ศ. 2558, 20:29:16
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
สอบถามเพิ่มเติมคะ แล้วใช้ด้ายล่างเบออะไรคะ ถึงจะดี ปักสวยคะ หรือว่าแล้วแต่งานที่จะปัก :) :) :)


ปักงานทั่วไปใช้ด้ายล่างเบอร์ 80/2 (เส้นเล็กสุด )  จะได้ระยะทางของด้ายที่ยาวกว่า ปักงานได้นานกว่าครับ