ThaiEMB.com สังคมแห่งมิตรภาพ และการแบ่งปัน
วันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2567, 23:03:20 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เว็บบอร์ด   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
collapse
กฏ-กติกา : ห้ามจำหน่าย, จ่ายแจก ซอฟแวร์ หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของผลงานอันมีลิขสิทธิ์ ในเว็บบอร์ด Thaiemb แห่งนี้โดยเด็ดขาด
ไม่ว่าจะเป็นทางหน้าบอร์ด หรือหลังไมค์(PM) หากพบเห็นท่านจะถูกแบน User ถาวร.!!!
หากท่านถูกในในผลงาน หรืออยากสนับสนุนให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานมีกำลังใจในการสร้างสรรค์ผลงาน
โปรดช่วยบริจาคให้ผู้จัดทำบ้างตามกำลังนะครับ.!!!  062

หน้า: [1]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: ขึงเฟรม  (อ่าน 5233 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
ART DESIGn
Full Member
***


ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 143
สมาชิก Nº: 631

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 353
-ได้รับ: 1343


โปรแกรม: wings v5
จักรปัก: swf
« เมื่อ: วันที่ 14 สิงหาคม พ.ศ. 2556, 23:41:12 »

โรงปักของท่านใช้อะไรในการขึงเฟรมเพื่อติดกาวสองหน้า  ครับ และผลดีผลเสียอย่างไรครับ   ( วีราเน่เหนียว  พลาสติก  ผ้าป่านแก้ว)
บันทึกการเข้า

ขยัน ซื่อสัตย์ หมั่นเรียนรู้ รู้คุณธรรม  กตัญญูผู้มีพระคุณ
 
Sponsored Links.
realmadrid_c2
Hero Member
*****

ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1206
สมาชิก Nº: 703

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 1937
-ได้รับ: 1526


« ตอบ #1 เมื่อ: วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556, 00:42:56 »

ผมใช้เครื่องทาจิม่า มันจะมีอุปกรณ์ เหล็ก ยึดไว้ให้อยู่แล้วครับ ส่วนผ้าขึงก็ ผ้าเคมีครับ

ผลดีคือ ถ้าชำนาน มันจะดีกว่า สะดึง เช่นอาจทำได้เร็วกว่า (พี่ชายผมบอกมา) ค่าใช้จ่าย ในการซื้อสะดึงใหม่ 
(ของทาจิม่า ของผม 20 หัวต้องซื้อสะดึง 40 อัน คิดเงินแล้วราคา ราวๆ 6 หมื่นบาท ทำให้ต้องคิดหนัก
แต่ก็ว่านะครับ ถ้าเราใช้ไประยะยาว มันก็ทำให้เสียค่ากาว ค่าผ้าเคมีอยู่ดี ส่วนสะดึง ผมว่ามันไม่มีพังหรอกมั้งครับ จะเสียก็เสียแค่น็อต)


ทั้งนี้ทั้งนั้น ต้องสร้างแพทเทิ่ล เป็นด้วยครับ ผมยังสร้างไม่เป็น ต้องใช้วิธีวัด เอาแล้ว ใช้ปากกาเมจิก เขียนมาร์คจุด แต่ละหัว ทำให้เสียเวลามาก ครับ

แต่ข้อเสียของการขึงเฟรมคือ ถ้าขึงงานนึง ไม่กี่ร้อยตัว แล้วกลับมาใช้ สะดึง มันจะทำให้เราหัวเสีย และเสียเวลามาก เพราะผมเคยเจอมาแล้วครับ ลูกค้าอยากได้งานแก้เสื้อ(ปักเสื้อเป็นตัว) ผมเพิ่งจะขึงเฟรมเริ่มปักอะไรเรียบร้อย ใช้เวลาไป 2-3 ชม.
ต้องมาถอดใหม่ ทำให้เสียผ้าเคมี เสียกาว เสียเวลามหาศาลมาก

จึงทำให้ผมมีแนวคิด ที่จะถอยเครื่องจักร อีกเครื่องปัญหานี้จะหมดไปทันที ครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556, 00:45:12 โดย realmadrid_c2 » บันทึกการเข้า

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
Kriangkraiw
Hero Member
*****


ยินดีให้คำปรึกษาเกี่ยวกับงานปักทุกเรื่องครับ
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2510
สมาชิก Nº: 31

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 3620
-ได้รับ: 8912


เว็บไซต์ โปรแกรม: Wilcom E3, PE-Design next
จักรปัก: Brother   RiCOMA   KANZEN
« ตอบ #2 เมื่อ: วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556, 09:05:35 »

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
ผมใช้เครื่องทาจิม่า มันจะมีอุปกรณ์ เหล็ก ยึดไว้ให้อยู่แล้วครับ ส่วนผ้าขึงก็ ผ้าเคมีครับ

ผลดีคือ ถ้าชำนาน มันจะดีกว่า สะดึง เช่นอาจทำได้เร็วกว่า (พี่ชายผมบอกมา) ค่าใช้จ่าย ในการซื้อสะดึงใหม่ 
(ของทาจิม่า ของผม 20 หัวต้องซื้อสะดึง 40 อัน คิดเงินแล้วราคา ราวๆ 6 หมื่นบาท ทำให้ต้องคิดหนัก
แต่ก็ว่านะครับ ถ้าเราใช้ไประยะยาว มันก็ทำให้เสียค่ากาว ค่าผ้าเคมีอยู่ดี ส่วนสะดึง ผมว่ามันไม่มีพังหรอกมั้งครับ จะเสียก็เสียแค่น็อต)


ทั้งนี้ทั้งนั้น ต้องสร้างแพทเทิ่ล เป็นด้วยครับ ผมยังสร้างไม่เป็น ต้องใช้วิธีวัด เอาแล้ว ใช้ปากกาเมจิก เขียนมาร์คจุด แต่ละหัว ทำให้เสียเวลามาก ครับ

แต่ข้อเสียของการขึงเฟรมคือ ถ้าขึงงานนึง ไม่กี่ร้อยตัว แล้วกลับมาใช้ สะดึง มันจะทำให้เราหัวเสีย และเสียเวลามาก เพราะผมเคยเจอมาแล้วครับ ลูกค้าอยากได้งานแก้เสื้อ(ปักเสื้อเป็นตัว) ผมเพิ่งจะขึงเฟรมเริ่มปักอะไรเรียบร้อย ใช้เวลาไป 2-3 ชม.
ต้องมาถอดใหม่ ทำให้เสียผ้าเคมี เสียกาว เสียเวลามหาศาลมาก

จึงทำให้ผมมีแนวคิด ที่จะถอยเครื่องจักร อีกเครื่องปัญหานี้จะหมดไปทันที ครับ

ผ้าเคมีข้อดีคือถูก แต่ใช้แล้วกาวติดไม่ค่อยทนเนื่องจากเป็นผ้า แต่ก็ใช้ได้ดีกว่าวีราเน่

ของผมใช้พลาสติกขึงเครื่องแทนครับ ทางเรามีจำหน่ายมานานหลายปีแล้วครับ

เกรียงไกร

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
บันทึกการเข้า



เครื่องปักคอมพิวเตอร์ SWF Brother RiCOMA KANZEN
เครื่องพิมพ์เสื้อ Brother GTX
เครื่องทำบล๊อกสกรีน RISO QOCCOPRO
ไหมปัก Bright

บริการด้วยใจ...ที่เป็นหนึ่ง
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ

Kriangkraiw
Hero Member
*****


ยินดีให้คำปรึกษาเกี่ยวกับงานปักทุกเรื่องครับ
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2510
สมาชิก Nº: 31

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 3620
-ได้รับ: 8912


เว็บไซต์ โปรแกรม: Wilcom E3, PE-Design next
จักรปัก: Brother   RiCOMA   KANZEN
« ตอบ #3 เมื่อ: วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556, 09:07:40 »

เทคนิคที่เห็นด้านบนคือ จบงานแล้ว ก็เสริมพลาสติกไป แล้วเจาะช่องใหม่ที่ลายเล็กกว่า ใช้ซ้ำได้ตลอดเวลาครับ
หรือถ้าจะปักลายใหญ่กว่า ก็เจาะช่องให้ใหญ่เพิ่มขึ้นไป
แล้วพอจะกลับมาปักเล็กลง ก็เสริมพลาสติกเข้าไปใหม่ครับ
ทำให้ไม่เสียเวลาในการเปลี่ยนพลาสติกใหม่ทั้งผืน และประหยัดด้วยครับ

เกรียงไกร
บันทึกการเข้า



เครื่องปักคอมพิวเตอร์ SWF Brother RiCOMA KANZEN
เครื่องพิมพ์เสื้อ Brother GTX
เครื่องทำบล๊อกสกรีน RISO QOCCOPRO
ไหมปัก Bright

บริการด้วยใจ...ที่เป็นหนึ่ง
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ

win
Full Member
***


ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 168
สมาชิก Nº: 374

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 407
-ได้รับ: 293


« ตอบ #4 เมื่อ: วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556, 09:20:07 »

เรียนถามคุณเกรียงไกรครับ

      พลาสติกที่ใช้ในการขึงเฟรม เวลาเราปักเสร็จแล้ว เราสามารถลอกกาว 2 หน้าออกได้ง่ายเหมือนเคมีหรือเปล่าครับ
แล้วหน้าผ้าของพลาสติกเท่าไหร่ ราคาต่อหลาเท่าไหร่ครับ เคยคิดแต่ยังไม่เคยลองครับ ไม่รู้ถามเยอะไปไหม แต่ขอบคุณล่วงหน้าครับ
ปกติของผมใช้แต่เคมีครับ ไม่เคยขึงสดึงเลย เพราะเวลาขึงสดึงงานที่ออกมาจะมีลอยสะดึง ลูกค้าไม่ค่อยชอบ ไชโย
บันทึกการเข้า
Kriangkraiw
Hero Member
*****


ยินดีให้คำปรึกษาเกี่ยวกับงานปักทุกเรื่องครับ
ออฟไลน์ ออฟไลน์

เพศ: ชาย
กระทู้: 2510
สมาชิก Nº: 31

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 3620
-ได้รับ: 8912


เว็บไซต์ โปรแกรม: Wilcom E3, PE-Design next
จักรปัก: Brother   RiCOMA   KANZEN
« ตอบ #5 เมื่อ: วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556, 09:27:26 »

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
เรียนถามคุณเกรียงไกรครับ

      พลาสติกที่ใช้ในการขึงเฟรม เวลาเราปักเสร็จแล้ว เราสามารถลอกกาว 2 หน้าออกได้ง่ายเหมือนเคมีหรือเปล่าครับ
แล้วหน้าผ้าของพลาสติกเท่าไหร่ ราคาต่อหลาเท่าไหร่ครับ เคยคิดแต่ยังไม่เคยลองครับ ไม่รู้ถามเยอะไปไหม แต่ขอบคุณล่วงหน้าครับ
ปกติของผมใช้แต่เคมีครับ ไม่เคยขึงสดึงเลย เพราะเวลาขึงสดึงงานที่ออกมาจะมีลอยสะดึง ลูกค้าไม่ค่อยชอบ ไชโย


การลอกกาวก็ลอกเหมือนปกติครับ แต่น่าจะยากกว่าผ้าเคมีเพราะ จะติดได้แน่นกว่าผ้าเคมี แต่ข้อดีคือติดงานได้แน่นกว่าครับ

ความกว้างหน้าพลาสติก 70 ซม. ครับ ขายเป็นกิโลครับ ราคาผมไม่แน่ใจ ลองโทร. สอบถาม 028901213 นะครับ

เกรียงไกร
บันทึกการเข้า



เครื่องปักคอมพิวเตอร์ SWF Brother RiCOMA KANZEN
เครื่องพิมพ์เสื้อ Brother GTX
เครื่องทำบล๊อกสกรีน RISO QOCCOPRO
ไหมปัก Bright

บริการด้วยใจ...ที่เป็นหนึ่ง
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ

realmadrid_c2
Hero Member
*****

ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 1206
สมาชิก Nº: 703

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 1937
-ได้รับ: 1526


« ตอบ #6 เมื่อ: วันที่ 15 สิงหาคม พ.ศ. 2556, 09:34:20 »

วิธีไม่ทำให้ผ้าหลุดจากกาว ก็คือ ใช้วีราเน่ ที่มันฉีกได้ครับ พอปักงานเสร็จ ก็ให้ถอดด้ามเหล็กหัวและท้าย ออก

แล้วดึงวีราเน่ที่ปักแล้วออกมา ให้เหลือแต่วีราเน่ใหม่ แล้วก็ทำการหนีบ ด้ามเหล็กนั้น เหมือนปักครั้งแรก

วิธีนี้ แทบไม่ต้องติดกาวเลยครับ (ผมดูที่โรงงานพี่ชายทำ)

โดยส่วนตัว ก็มีปัญหาเรื่องกาวเหมือนกัน รีดซะจนติดแ่น่น ถอดออกมาก็ติดกับผ้า จนลูกค้าติ
แต่พอกลับไปดูโรงงานพี่ชายอีกครั้งพบว่า ไม่จำเป็นต้อง รีบกาวให้แน่นขนาดนั้นเลย (ขอพี่ชายผมผ้าแทบไม่ติดชิดกับกาว)

เพราะว่า เมื่อใช้วิธีพี่ชายผมไปแล้ว เวลาปัก วีราเน่มันจะไม่เคลื่อน เหมือนกับยึดไปในตัว รึเปล่า ? ไม่แน่ใจนะครับ

ปล.กำลังจะเอารูปที่เคยถ่ายไว้ในมือถือ แต่งง อยู่ครับว่า ทำไมรูปหายไปหมดเลย เหลือแต่รูปใหม่ๆ  :'(
บันทึกการเข้า

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
หน้า: [1]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.16 | SMF © 2011, Simple Machines
SimplePortal 2.3.7 © 2008-2024, SimplePortal

SMFAds for Free Forums

Clear Mind Theme, by StathisG
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.048 วินาที กับ 30 คำสั่ง