ThaiEMB.com สังคมแห่งมิตรภาพ และการแบ่งปัน
วันที่ 20 พฤษภาคม พ.ศ. 2567, 16:45:33 *
ยินดีต้อนรับคุณ, บุคคลทั่วไป กรุณา เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน
ส่งอีเมล์ยืนยันการใช้งาน?

เข้าสู่ระบบด้วยชื่อผู้ใช้ รหัสผ่าน และระยะเวลาในเซสชั่น
 
  หน้าแรก   เว็บบอร์ด   ช่วยเหลือ ค้นหา ปฏิทิน เข้าสู่ระบบ สมัครสมาชิก  
collapse
กฏ-กติกา : ห้ามจำหน่าย, จ่ายแจก ซอฟแวร์ หรือส่วนหนึ่งส่วนใดของผลงานอันมีลิขสิทธิ์ ในเว็บบอร์ด Thaiemb แห่งนี้โดยเด็ดขาด
ไม่ว่าจะเป็นทางหน้าบอร์ด หรือหลังไมค์(PM) หากพบเห็นท่านจะถูกแบน User ถาวร.!!!
หากท่านถูกในในผลงาน หรืออยากสนับสนุนให้ผู้สร้างสรรค์ผลงานมีกำลังใจในการสร้างสรรค์ผลงาน
โปรดช่วยบริจาคให้ผู้จัดทำบ้างตามกำลังนะครับ.!!!  062

หน้า: 1 2 [3]   ลงล่าง
  พิมพ์  
ผู้เขียน หัวข้อ: สัมนานอกรอบ ถ่ายทำจากสถานที่จริง บุคคลจริง จักรจริง  (อ่าน 19237 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 1 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
giftkids
บุคคลทั่วไป
« เมื่อ: วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2556, 08:52:14 »

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ

เจ้าของบ้านยังไม่เข้าบ้าน พี่พงษ์เดินเข้าไปก่อนเลย
มาดูเทคนิคเครื่องเรา55555 ที่งงงงงง
แบ่งออกเป็น  ข้อๆ พร้อมข้อแก้ต่าง
1. เข็ม เอียง 45 องศา
   -มันยังปักได้
2.คีมใส่เข็ม ไม่ใช้  ใช้ มือตลอด  
  - มานั่งนึก มิ้งค์ก็ใช้มือมา ตลอดตั้งแต่ เฟยย่า 6-7 ปี
3. แปรงปัดฝุ่น ไม่มี  
  -  คือ ว่า มีแต่หาไม่เจอ ส่วนใหญ่ใช้ แปรงสีฟันอันเก่า เปลี่ยนตลอดทุก 3 เดือน แปรงปัดฝุ่น เราก็เปลี่ยนตลอดเหมือนกัน
4. คุณพี่ขี้เกียจเปลี่ยน เพลท  
  -  งานเก่าเป็นหมวก  พอเสร็จเปลี่ยนสดึง ก็ลงเสื้อเลย ก็มันปักได้นิ
5. กระสวยแน่นมากกกกก
  - ก็ มันปักได้ (ไม่รู้จะบอกไง)
6.ของเต็มใต้เครื่อง ให้ทำความสะอาด ให้อากาศถ่ายเท เครื่องจะได้ไม่ร้อน
  -  ค่ะ
เริ่มสอนตั้งด้าย บน -ด้ายล่าง  วิธีการตั้งเข็ม
อาจารย์ เท้าเอว ส่ายหัว
อาจารย์พงษ์ เก่ คอ จุกอก
คุณดา มิ้งค์ เทคนิคเยอะจัง
 Shocked Shocked Shocked Shocked
ขอบคุณภาพ พี่ทองทวี
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 2556, 09:09:23 โดย giftkids » บันทึกการเข้า
 
Ken-ken2007
Sr. Member
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 367
สมาชิก Nº: 403

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 427
-ได้รับ: 693


« ตอบ #31 เมื่อ: วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2556, 19:27:50 »

ของผมขึ้นอยู่กับว่ามีสะดึงคาอยู่หรือไม่ถ้าไม่มีก็ใส่ง่ายเลยใช้มือจับเลย แต่ถ้ามีสะดึงอยู่จัจับเข็มไม่ถนัดต้องใช้คีมช่วยครับ
บันทึกการเข้า
kenken
Full Member
***

ขายจักรปักคอมพิวเตอร์มือสอง ติดต่อ 0864109934
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 203
สมาชิก Nº: 12

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 325
-ได้รับ: 1194


« ตอบ #32 เมื่อ: วันที่ 31 ตุลาคม พ.ศ. 2556, 19:39:35 »

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
ถ้าเกิดใส่เข็มแล้วเข็มเข้าไม่สุด ฮุคจะเข้าตรงจังหวะไหมครับ หรือต้องตั้งฮุคให้เข้ากับเข็มที่ใส่ไม่สุด
ถ้าเกิดเป็นในจักรหลายเข็มละครับ จะตั้งฮุคหรือสโตคเข็มหายังไง
ถ้าใส่เข็มไม่สุด จังหวะเกี่ยวของโรตารี่ฮุคจะเกี่ยวไม่ตรงส่วนเว้าของเข็ม จัีกรจะัปักไม่ติดหรือไม่ก็ขาดเป็นขุย
จะไม่มีการปรับโรตารี่ฮุคหรือสโตรกเข็มเข้าหาเข็มที่ใส่ไม่สุดครับ เพราะมันจะเพี้ยนกันไปหมด
แต่จะแก้ปัญหาเฉพาะเข็ม อาจมีเข็มหักคา หรือ มีฝุ่นติดอยู่ต้องทำความสะอาดเพื่อดันให้เข็มขึ้นสุดให้ได้
บันทึกการเข้า

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
pong
Extras Member
*****

ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 817
สมาชิก Nº: 1909

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 1503
-ได้รับ: 3948


โปรแกรม: wilcom e1.8
จักรปัก: จักรจีน
« ตอบ #33 เมื่อ: วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556, 08:54:36 »

หลักการเปลี่ยนเข็ม ที่ช่าง  kenken กล่าวมาถูกต้องทั้งหมดครับ การทำงานกับเครื่องจักร ต้องใช้กลักการที่ถูกต้อง ก่อนใช้กลักกู

มือใช้จับใส่ได้ แต่ถ้าให้ใส่แล้วยึดได้แน่นอน เที่ยงตรง มั่นคงดีที่ คือการใช้คีมปากจิ้งจกจับใ่ส่แล้วขันสกรูยึดให้แน่นครับ

บางคนอาจสะดวกกับการใช้มือ เพราะจากการสั้นยาวของสายตา ที่มองเข็มเล็กเห็นยากจึงใช้มือใส่เอา แต่ความแน่นอนสู้การใช้คีมไม่ได้

การใส่เข็ม ใส่ไม่ดี ใส่ไม่แน่น ปักๆๆไปเข็มหลุด ไปแทงฮูกเป็นรอย ไปขัดฮูกทำให้ฮูกเคลื่อนอีก นั่นคือผลที่อาจตามมาจากการใส่เข็มไม่ดี

***ผมแก้ปัญหาจักรปักทุกวันนี้ได้ ให้มันสามารถทำงานได้ดีจนเป็นที่น่าพอใจ และมีความรู้มาแนะนำคนอื่นได้เพราะผมใช้หลักการ มากกว่าหลักกูครับ

ผมเขียนไว้หลายครั้งว่า จักรปักไม่ใช่เครื่องจักเทวดา ไม่ใช่สิ่งที่น่ากลัว ไม่ใช่สิ่งที่ซ่อมไม่ได้ ทำยาก ซ่อมยาก ถ้าเรารู้จักมันจริงๆเราแก้ปัญหามันได้หมด เหมือนที่ช่างหลายๆคนที่เก่งจริง รับซ่อมจักรปักแล้วแก้ปัญหามันได้ นั่นเองครับ การเกิดของเวป การชี้แนะปัญหากันก็เพื่อให้คนใช้จักรปักมีความรู้เบื้องต้นและความรู้ในชั้นลึกเพื่อเเก้ปัญหากับจักรปักของตัวเองได้ เหมือนใครว่าจักรจีนไม่ดี ผมใช้จักรจีนมา 6 ปี ก็ยังไม่เสียค่าซ่อมสักบาท เพราะรู้จักซ่อม ดูแล และใช้มันให้เป็น ไม่ใช่มันไม่มีปัญหา ปัญหามันมี แต่แก้ไขเป็น มันก็ไม่เสียเงินครับ
ฝากไว้พิจารณา เรื่องหลักการและหลักกู ครับ
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556, 09:08:12 โดย pong » บันทึกการเข้า
CoQTos
Sr. Member
****


ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 477
สมาชิก Nº: 22

คำขอบคุณ
-ได้ให้: 2494
-ได้รับ: 871


« ตอบ #34 เมื่อ: วันที่ 1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2556, 10:11:12 »

คุณไม่สามารถดูข้อความนี้.กรุณา ลงทะเบียน หรือ เข้าสู่ระบบ
หลักการเปลี่ยนเข็ม ที่ช่าง  kenken กล่าวมาถูกต้องทั้งหมดครับ การทำงานกับเครื่องจักร ต้องใช้กลักการที่ถูกต้อง ก่อนใช้กลักกู

มือใช้จับใส่ได้ แต่ถ้าให้ใส่แล้วยึดได้แน่นอน เที่ยงตรง มั่นคงดีที่ คือการใช้คีมปากจิ้งจกจับใ่ส่แล้วขันสกรูยึดให้แน่นครับ

บางคนอาจสะดวกกับการใช้มือ เพราะจากการสั้นยาวของสายตา ที่มองเข็มเล็กเห็นยากจึงใช้มือใส่เอา แต่ความแน่นอนสู้การใช้คีมไม่ได้

การใส่เข็ม ใส่ไม่ดี ใส่ไม่แน่น ปักๆๆไปเข็มหลุด ไปแทงฮูกเป็นรอย ไปขัดฮูกทำให้ฮูกเคลื่อนอีก นั่นคือผลที่อาจตามมาจากการใส่เข็มไม่ดี

***ผมแก้ปัญหาจักรปักทุกวันนี้ได้ ให้มันสามารถทำงานได้ดีจนเป็นที่น่าพอใจ และมีความรู้มาแนะนำคนอื่นได้เพราะผมใช้หลักการ มากกว่าหลักกูครับ

ผมเขียนไว้หลายครั้งว่า จักรปักไม่ใช่เครื่องจักเทวดา ไม่ใช่สิ่งที่น่ากลัว ไม่ใช่สิ่งที่ซ่อมไม่ได้ ทำยาก ซ่อมยาก ถ้าเรารู้จักมันจริงๆเราแก้ปัญหามันได้หมด เหมือนที่ช่างหลายๆคนที่เก่งจริง รับซ่อมจักรปักแล้วแก้ปัญหามันได้ นั่นเองครับ การเกิดของเวป การชี้แนะปัญหากันก็เพื่อให้คนใช้จักรปักมีความรู้เบื้องต้นและความรู้ในชั้นลึกเพื่อเเก้ปัญหากับจักรปักของตัวเองได้ เหมือนใครว่าจักรจีนไม่ดี ผมใช้จักรจีนมา 6 ปี ก็ยังไม่เสียค่าซ่อมสักบาท เพราะรู้จักซ่อม ดูแล และใช้มันให้เป็น ไม่ใช่มันไม่มีปัญหา ปัญหามันมี แต่แก้ไขเป็น มันก็ไม่เสียเงินครับ
ฝากไว้พิจารณา เรื่องหลักการและหลักกู ครับ
พูดอีกก็ถูกอีก แถมได้ความรู้มาด้วย  Smiley
บันทึกการเข้า
หน้า: 1 2 [3]   ขึ้นบน
  พิมพ์  
 
กระโดดไป:  

Powered by MySQL Powered by PHP Powered by SMF 1.1.16 | SMF © 2011, Simple Machines
SimplePortal 2.3.7 © 2008-2024, SimplePortal

SMFAds for Free Forums

Clear Mind Theme, by StathisG
Valid XHTML 1.0! Valid CSS!
หน้านี้ถูกสร้างขึ้นภายในเวลา 0.058 วินาที กับ 30 คำสั่ง